- strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/views.module on line 906.
- strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 607.
- strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 607.
- strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 159.
- strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/views.module on line 906.
- strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 24.
- strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 134.
- strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 134.
- strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/views.module on line 906.
- strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 744.
- strict warning: Declaration of views_handler_filter_node_status::operator_form() should be compatible with views_handler_filter::operator_form(&$form, &$form_state) in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/modules/node/views_handler_filter_node_status.inc on line 13.
- strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/himayah/public_html/v2/modules/views/views.module on line 906.
- warning: preg_match(): Compilation failed: disallowed Unicode code point (>= 0xd800 && <= 0xdfff) at offset 1811 in /home/himayah/public_html/v2/modules/ctools/includes/cleanstring.inc on line 157.
- warning: preg_match(): Compilation failed: disallowed Unicode code point (>= 0xd800 && <= 0xdfff) at offset 1811 in /home/himayah/public_html/v2/modules/ctools/includes/cleanstring.inc on line 157.
- warning: preg_match(): Compilation failed: disallowed Unicode code point (>= 0xd800 && <= 0xdfff) at offset 1811 in /home/himayah/public_html/v2/modules/ctools/includes/cleanstring.inc on line 157.
- warning: preg_match(): Compilation failed: disallowed Unicode code point (>= 0xd800 && <= 0xdfff) at offset 1811 in /home/himayah/public_html/v2/modules/ctools/includes/cleanstring.inc on line 157.
ถาม-ตอบกับฝ่ายฮิมายะฮฺ
พี่น้องผู้บริโภคสามารถตั้งคำถามหรือฝากข้อสงสัยเพื่อให้ฝ่ายฮิมายะฮฺช่วยหาคำตอบและชี้แจงแก่พี่น้องได้ที่นี่ครับ
ผลิตภัณฑ์ (9)
คำถามเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๅ
ซอสญี่ปุ่น, ซีอิ้วญี่ปุ่น, หรือ โชหยุ (Soy bean sauce) เป็นเครื่องปรุงสำคัญในการทำอาหารญี่ปุ่น ซึ่งได้จากการหมักถั่วเหลือง โดยในระหว่างการหมักนั้นจะเกิดอัลกอฮอล์ 1-5% ตัวอย่างเช่น ซอส Kikkoman ระบุไว้ว่ามี อัลกอฮอล์ 3.2%
แต่ซอสญี่ปุ่นในบ้านเราไม่ได้ระบุปริมาณอัลกอฮอล์ที่ฉลาก ดังนั้น เราควรเลือกซอสญี่ปุ่นที่ได้รับรองฮาลาลจะปลอดภัยที่สุด เพราะได้ผ่านการตรวจสอบปริมาณอัลกอฮอล์แล้วว่าไม่เกินมาตรฐานฮาลาล ซึ่งทางศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลกำหนดไว้ 1.5%
ซอสญี่ปุ่นที่ได้รับรองฮาลาลคือ
1. ซีอิ๊วญี่ปุ่น ตรา อาซาฮี (Asahi soy sauce)
ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย..56
2. ซีอิ๊วญี่ปุ่น ตราเด็กสมบูรณ์ สูตร All Purpose Seasoning (Japanese style Soy Sauce)
ขอบคุณภาพจาก halal.in.th
ข้อควรระวัง
1. "ซอส ทาคุมิ-อายิ" ไม่เหมาะกับผู้ที่รับประทานเจและชาวมุสลิม ส่วนผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ สามารถใช้ปรุงอาหารได้ตามปกติ
(ข้อมูลจากผลิตภัณฑ์ บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด หน้าเว็บ(ปี 2552) และจากการสอบถามล่าสุด 03/09/2553) เมื่อปี 2552 ผลิตภัณฑ์นี้ แจ้งส่วนประกอบว่ามีมิรินไว้ข้างขวด แต่ปัจจุบัน(2553) ส่วนประกอบข้างขวดได้ตัดคำว่า"มิริน"ออกไป
2. ยี่ห้อ ฟูจิ (Fuji) จากการสอบถามไปยังทางฟูจิ (03/09/53) ทางเจ้าหน้าที่แจ้งว่า ไม่เหมาะสำหรับมุสลิมและผู้ที่ทานเจ
3. ซอสญี่ปุ่นยี่ห้อ ยามาซ่า (Yamasa) บางชนิด มีการเติมอัลกอฮอล์ลงในซอสด้วย
*** กรุณาตรวจสอบเครื่องหมายรับรองฮาลาลก่อนซื้อทุกครั้ง ***
Attachment | Size |
---|---|
japan-soy-sauce-3.jpg | 29.31 KB |
asahi-sauce.jpg | 54.31 KB |
japan-soy-sauce-1.jpg | 20.7 KB |
คำถาม : ไส้กรอกตามก 7-eleven มีตราฮาลาล จะสามารถทานได้หรือเปล่า, ไก่ซีพี สหฟาร์ม เบทาโกร ฮาลาลหรือไม่
สำหรับการอุ่นอาหารจากเตาไมโครเวฟในร้านเซเว่นอีเลฟเว่นนั้นมีคำแนะนำจากเชคริฎอ อะหมัด สมะดี สรุปได้ว่า "ปัจจุบันมีอาหารมากมายที่มีตราฮาลาลและต้องอุ่นในไมโครเวฟที่เซเว่นอีเลฟเว่น เท่าที่ดูแล้วเตานี้จะใช้อุ่นอาหารทุกชนิดทั้งหมู ไส้กรอกหมู ฯลฯ ซึ่งขณะอุ่นก็อาจจะมีไอหรือควันที่ออกมาจากอาหารมาเกาะติดกับภายในไมโครเวฟ หรือบางทีเขาใช้ฝาครอบพลาสติกปิดอาหารขณะอุ่น ก็จะมีส่วนที่ออกมาจากอาหารติดกับฝาครอบนี้ ดังนั้น ความที่มีชุบฮัตแบบนี้ขอแนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้เตาไมโครเวฟ เพราะน่าสงสัยว่ามีการปะปนกับอาหารที่ไม่หะล้าลตามหลักการอิสลาม"
1. หนังสือ ถาม-ตอบ เรื่องฮาลาลกับฮิมายะฮฺ เล่ม 1
2. มุสลิมสามารถอุ่นอาหารจากเตาไมโครเวฟในร้านเซเว่นอีเลฟเว่นได้หรือไม่
คำถาม : ทำไมนงผง เอส-26 จึงมีตราฮาลาลสิงคโปร์ ทำไมไม่ใช้ตราฮาลาลไทย ?
คำถาม : เต้าฮวยนมสดใส่เจลาตินด้วยหรือ ?
ที่มา : หนังสือ ถาม-ตอบเรื่องฮาลาลกับฮิมายะฮฺ เล่ม 1
การทำให้สัตว์สลบก่อนฆ่าหรือเชือดนั้นมีปัญหาอยู่ 2 ประการ ซึ่งถูกพิสูจน์โดยหลักวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น
ประการแรก การทำให้สลบนั้นไม่อาจทำให้เส้นประสาทรับความรู้สึกของสัตว์สลบไปด้วยทุกส่วน ซึ่งการเชือดตามหลักศาสนาอิสลามคือวิธีที่มีความเจ็บปวดน้อยที่สุดอยู่แล้ว เพราะการเชือดตามหลักการอิสลามจะต้องตัดเส้นเลือดหลักที่หล่อเลี้ยงสมอง ซึ่งทำให้เส้นประสาททุกส่วนที่จะส่งสัญญาณมายังสมองนั้นไม่สามารถทำงานได้ จึงทำให้ความรู้สึกเจ็บปวดของสัตว์อยู่ในอัตราที่ต่ำที่สุด
ประการที่สอง การฉีดยาสลบก่อนเชือดหรือฆ่าทำให้เส้นเลือดขณะเชือดและฆ่าอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถแสดงปฏิกิริยาหรือสนองต่อคำสั่งจากสมอง ซึ่งต่างจากสภาพเส้นเลือดของสัตว์เมื่อถูกเชือดตามหลักศาสนาอิสลาม เพราะการตัดเส้นเลือดหลักที่หล่อเลี้ยงสมองนั้น ทำให้สมองออกคำสั่งเร่งด่วนสู่เส้นเลือดทั่วตัวสัตว์ เส้นเลือดต่างๆก็จะสนองตอบคำสั่งดังกล่าวด้วยการขับเลือดไปยังศีรษะ อันเป็นผลต่อเนื้อของสัตว์ที่จะมีเลือดน้อยที่สุด แต่ถ้าไม่เชือดตามหลักการศาสนาก็จะเกิดปัญหาเลือดคั่งอยู่ในเส้นเลือดและอวัยวะต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุในการสะสมเชื้อโรคต่างๆในเนื้อสัตว์ ถ้ามีการเก็บเนื้อในระยะเวลานาน และส่งผลต่อการเพิ่มน้ำหนักของเนื้อ อันเป็นเป้าหมายทางการค้าของโรงเชือดที่ไม่ได้เชือดตามหลักการอิสลาม
ดังนั้นทางวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์แล้วว่าการเชือดตามหลักศาสนาอิสลามทรมานน้อยที่สุดและปลอดภัยมากที่สุด
หมายเหตุ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://e3jaz.way2allah.com/modules.php?name=News&file=article&sid=143
เชคริฎอ อะหมัด สมะดี
ฝ่ายวิชาการศาสนาฮิมายะฮฺ
15/8/2011
คำแนะนำจากเชคริฎอ (ที่ปรึกษาของฮิมายะฮฺ) : ...อาหารที่กาฟิร(ต่างศาสนิก)ปรุงนั้นไม่ถือว่าหะรอม(ต้องห้าม) สิ่งที่ต้องพิจารณาคือส่วนประกอบ(ว่าหะล้าลหรือไม่) และภาชนะ(ว่ามีการใช้ปะปนกับสิ่งหะรอมหรือไม่)...สำหรับขนมที่ไม่ได้รับรองฮาลาล แต่เรารู้ว่ามีส่วนประกอบที่ไม่หะรอม และภาชนะไม่มีการปะปน หรือเรารู้จักกับคนขาย หรือเขาทำต่อหน้าเรา และมั่นใจได้ในเรื่องส่วนผสมและภาชนะ ก็รับประทานได้ ส่วนเรื่องของความสงสัยก็แล้วแต่บุคคล เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของแต่ละคน ไม่ถือเป็นมาตรฐานในการหุก่มสิ่งหนึ่งสิ่งใดว่าหะล้าลหรือหะรอม...
รับฟังรายละเอียดได้ที่
ยูเอฟเอ็ม เอสพี ไม่ได้รับรองฮาลาล แนะนำให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทอื่นที่ได้รับฮาลาลแทน
สารเสริมประสิทธิภาพในเบเกอรี่ ที่ได้รับรองฮาลาลคือผลิตภัณฑ์ของบริษัท Caltech คือ ยี่ห้อ เอสพี โกลด์ (SP Gold), โอวิเทค (Ovitech) ฯลฯ อ่านรายละเอียดได้ที่ http://www.himayah.net/v2/node/120
น้ำโซดา เป็นน้ำเปล่าอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้ซ่า มีฤทธิ์เป็นกรด ไม่มีส่วนผสมที่หะรอม แต่โซดาที่ขายส่วนมากจะเป็นของบริษัทที่ผลิตสุรา การซื้อโซดายี่ห้อเดียวกับสุรา เป็นการสนับสนุนบริษัทเหล่านั้นทางอ้อม แนะนำให้หลีกเลี่ยง
ส่วนใหญ่ไม่มีฮาลาลครับ เช่น สเวนเซ่น แดรี่ควีน บาสกินร็อบบิ้นส์ ฯลฯ
...ที่มีฮาลาลก็คือ ครีโม แมกโนเลีย วอลล์ครับ
...ถ้ามียี่ห้ออื่นที่มีฮาลาลพี่น้องช่วยแจ้งมาด้วยครับ (มีภาพถ่ายมาด้วยจะดีมากครับ) - [อนีส]
อ่านรายละเอียดได้ที่ http://www.himayah.net/v2/node/22
สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)
สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) ในปัจจุบันวงการอุตสาหกรรมเบเกอรี่ของบ้านเรา (และในหลายประเทศ) นิยมนำมาใช้กันอย่างมาก เพื่อทำหน้าที่เป็น Cake Stabiliser การใช้สารอีมัลซีไฟเออร์เหล่านี้ นิยมใช้ในการผสมแบบขั้นตอนเดียว คือ เติมส่วนผสมทั้งหมดลงในอ่างผสม แล้วตีส่วนผสมด้วยความเร็วต่ำ 30 วินาที ปาดข้างอ่างเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันได้ดี แล้วตีต่อด้วยความเร็วสูงอีกประมาณ 5 - 6 นาที (หรือแล้วแต่สูตรจะกำหนด)
เหตุผล ที่มีการใช้สารอิมัลซิไฟเออร์ในวงการเบเกอรี่กันมาก ก็เพราะมันช่วยให้การตีไขมันกับของเหลวต่าง ๆ ในส่วนผสม สามารถรวมตัวกันได้ดี ภายในระยะเวลาอันสั้น ทำให้ประหยัดเวลา ช่วยให้การทำเค้กง่ายขึ้น ได้เนื้อเค้กที่ละเอียดขึ้น และโอกาสที่ขนมจะเสียหรือยุบตัวจะมีน้อยมาก จึงสามารถที่จะควบคุมต้นทุนและคุณภาพของเค้กไว้ได้
ข้อมูลจาก http://soda-pie.blogspot.com/2010/02/emulsifier.html
พุธ, 22/12/2010 - 00:57 — Ibnuhaiyaan
อีมัลซิไฟเออร์
อีมัลซิไฟเออร์มีหลายชนิดค่ะ ถ้าดูจาก e-number ก็อยู่ในช่วง e400-e499 มีทั้งที่ได้จากพืช สัตว์ หรือสังเคราะห์ขึ้น หน้าที่ของมันก็อย่างที่คุณ Ibnuhaiyaan ยกมาข้างต้น
ส่วนผสมของแป้งทำขนมสำเร็จรูป (cake mix) นอกจากแป้ง น้ำตาล ผงฟู ไขมัน ฯลฯ แล้วก็ยังมีสารที่ช่วยในการผสมเค้กได้ดี, ปรับสภาพเนื้อเค้ก, สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน ซึ่งต้องตรวจสอบเป็นตัวๆ ไปค่ะว่าฮาลาลมั้ย
สำหรับแป้งทำขนมสำเร็จรูปที่ระบุว่ามีอีมัลซิไฟเออร์ การเลือกซื้อหรือรับประทานให้ดูจากการรับรองฮาลาลที่ฉลาก ถ้าไม่มีก็ต้องสอบถามกับผู้ผลิตว่าสารเสริมสภาพที่ใช้นั้นได้รับการรับรองฮา ลาลหรือเป็นผลิตภัณฑ์จากพืชทั้งหมดหรือไม่ ? วนิลลาที่ใช้มีอัลกอฮอล์มั้ย ?
ตัวอย่างแป้งโดนัทที่ได้รับรองฮาลาล
พี่น้องที่มีข้อมูลว่าผลิตภัณฑ์แป้งสำเร็จรูปตัวไหนได้รับการรับรองฮาลาล ก็แจ้งไว้ที่นี่ได้นะคะ
ญะซากุมุลลอฮุค็อยร็อน
ทีมงานฮิมายะฮฺ
พฤ, 23/12/2010 - 09:14 — himayah123
ร้านค้าและบริการ (3)
คำถามเกี่ยวกับการให้บริการร้านอาหารรูปแบบต่างๆ
เครื่องหมายฮาลาลที่ถูกต้องตามระบบการรับรอง เครื่องหมายฮาลาลที่ถูกต้องตามระบบการรับรองของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักดังรูป
1. คำว่า “ฮาลาล” حلال ภาษาอาหรับ ในสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมีพื้นหลังเป็นแถบเส้นตรงแนวดิ่ง
2. ชื่อองค์กรรับรอง - "สนง. คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย" หรือ "The Central Islamic Committee of Thailand" หรือ เป็นภาษาอาหรับ (เป็นได้ทั้ง 3 ภาษา) ถ้าเป็น “สำนัก จุฬาราชมนตรี” แสดงว่าเป็นเครื่องหมายฮาลาลที่ไม่ผ่านการตรวจรับรอง เนื่องจากทางสำนัก จุฬาราชมนตรีได้มอบหน้าที่การตรวจรับรองฮาลาลแก่คณะ กรรมการกลางอิสลามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 แล้ว
3. หมายเลขผลิตภัณฑ์ 12 หลัก ที่ได้จากการรับรองฮาลาล ถ้าเป็นตัวเลขในระบบเก่า (ซึ่งผ่านการ ตรวจรับรองเช่นเดียวกัน) จะใช้ลำดับที่ของบริษัท ตามด้วยปีที่เริ่มขอรับรอง "ที่ ฮ.ล. 025/2547" ในส่วนของเลข 12 หลักนั้น มีความหมายดังนี้ (ดูรูปประกอบ)
* เลข 2 ตัวแรก คือ หมวดผลิตภัณฑ์ ตามที่ปรากฏในฐานข้อมูลการรับรองฮาลาลของคณะกรรมการกลางฯ จากรูปตัวอย่าง เลข 74 หมายถึง ผลิตภัณฑ์เกลือ พริกไทย แป้งทำอาหาร น้ำตาล
* เลขตัวที่ 3-5 คือ ลำดับที่ของบริษัทในทะเบียนการขอรับรอง จากรูป เป็นบริษัทลำดับที่ 69
* เลขตัวที่ 6-8 คือ ลำดับที่ของผลิตภัณฑ์ในรายการที่ทางบริษัทยื่นขอรับรองฮาลาล จากรูป เป็นผลิตภัณฑ์แรกของบริษัทนี้
* เลข 4 ตัวสุดท้าย คือ เดือนและปีที่เริ่มขอรับรอง จากรูป 09 41 หมายถึงบริษัทนี้เริ่มขอรับรองผลิตภัณฑ์นี้ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ซึ่งการที่เราจะทราบว่าเครื่องหมายฮาลาลนี้หมดอายุหรือไม่มีนั้น มีเพียงวิธีการเดียวคือ สอบถามโดยตรงจากฝ่ายกิจการฮาลาล คณะกรรมการกลางฯ ส่วนเรื่องสีของเครื่องหมายฮาลาล ไม่ว่าจะเป็นสีอะไร ไม่มีผลใดๆ (สีเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารนั้นๆ) เช่น อาจเป็นสีขาว, เขียว หรือแดง แต่ถ้าเงื่อนไขครบสามข้อข้างต้น ถือว่าถูกต้อง ที่มา:http://www.halalscience.org
เนื่องจากมีพี่น้องผู้บริโภคได้แจ้งข่าวเกี่ยวกับการบริโภคฟาสต์ฟูดไก่ทอด ชื่อดัง โดยพี่น้องมุสลิม จำนวนมากในห้างซุปเปอร์สโตร์ย่านหนองจอก ทั้งนี้ผู้เข้าใช้บริการร้านไก่ทอดที่มักจะมีรูปปั้นตั้งอยู่หน้าร้านนี้มี จำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งๆ ที่ร้านไก่ทอดยี่ห้อนี้ไม่มีการรับรองหะล้าลจากคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทย
ทีมงานฝ่ายฮิมายะฮฺจึงได้ทำการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับไก่ทอดยี่ห้อนี้ จึงทราบว่าวัตถุดิบซึ่งเป็นไก่สดอาจได้รับการรับรองหะล้าล แต่ไม่มั่นใจว่าไก่ที่ใช่ปรุงอาหารนั้นหะล้าลในทุกสาขาทั่วประเทศหรือไม่ อีกทั้งในการปรุงไก่ก่อนทอดนั้นใช้ผงปรุงซึ่งเป็นส่วนผสมลับสิบกว่าชนิด จึงไม่ทราบได้ว่าส่วนผสมต่างๆ ที่ไม่ระบุนั้นหะล้าลหรือหะรอม แม้กระทั่งพนักงานในร้านเองก็ไม่ทราบได้ว่าผงปรุงนั้นทำมาจากอะไร เนื่องจากผงปรุงถูกบรรจุเป็นส่วนผสมสำเร็จรูปแล้ว รวมถึงอาหารชนิดอื่นๆ ในร้าน เช่น มันบด ที่ต้องใช้น้ำซุปเป็นส่วนผสม ก็ไม่ทราบสถานะทางหะล้าลเช่นเดียวกัน
ฝ่ายฮิมายะฮฺจึงขอให้พี่น้องหลีกเลี่ยงไก่ทอดชื่อดังยี่ห้อนี้ เนื่องจากอยู่ในสถานะที่ “ต้องสงสัย” และพี่น้องมุสลิมมีอาหารหะล้าลอื่นๆ ให้เลือกบริโภคอีกเป็นจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน
...อย่าให้การตามกระแสบริโภคนิยม ทำให้เราต้องละทิ้งจุดยืนที่อัลลอฮฺได้มอบให้แก่เรานะครับ (อนีส ตอเล็บ, มี.ค.53)
รับฟังคำตอบได้ที่ ไก่ชื่อดังยี่ห้อหนึ่ง ได้ยินมาว่าไก่นั้นฮาลาล เราจะรับประทานได้หรือไม่ (เคเอฟซี) ?
เท่าที่ทราบไม่มีฮาลาล และจากเว็บไซต์มิสเตอร์โดนัท ก็เห็นมีพายไก่และแซนด์วิชไส้กรอกไก่ขายอยู่ด้วย อาจจะมีการปะปนกัน
ข้อมูลการตรวจสอบโดนัทของร้านมิสเตอร์โดนัทในต่างประเทศไม่ค่อยมีค่ะ แต่เราจะเทียบกับของร้านดังกิ้นโดนัทได้ เพราะเป็นโดนัทเหมือนกัน ส่วนผสมที่ใช้ไม่แตกต่างกันนัก
ทาง muslim consumer group (mcp) ตรวจสอบโดนัทในร้านดังกิ้นโดนัทของอเมริกาหลายๆตัวแล้ว พบว่าส่วนมากจะหะรอมและน่าสงสัย(มุชตะบิฮาต) โดยส่วนผสมที่หะรอม(ตามทัศนะของทาง mcg) คือ L-CYSTEINE ซึ่งสกัดได้จากผมคนและขนสัตว์ (สถานะของตัวนี้นักวิชามีความเห็นต่างกันมีทั้งที่เห็นว่าหะรอมและหะลาล), และส่วนผสมที่น่าสงสัยในโดนัทคือ สารให้กลิ่นรส เพราะอาจจะมีอัลกอฮอล์ผสมอยู่ด้วย
ทางที่ดีไม่ควรรับประทานค่ะ เพราะว่า...
จากอบูอับดุลลอฮฺ (อัน-นุอฺมาน บินบะชีร) กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
แท้จริงสิ่งที่อนุมัติ (หะล้าล) นั้นชัดแจ้ง สิ่งที่ต้องห้าม (หะรอม) ก็ชัดแจ้ง และในระหว่างทั้งสองสิ่งนั้น มีเรื่อง (หรือสิ่ง) ที่คลุมเครือ (ไม่ชัดแจ้ง) ซึ่งผู้คนส่วนมากไม่รู้ ดังนั้น ผู้ใดรักษาตัวเขาจากสิ่ง (หรือเรื่อง) ที่คลุมเครือนั้น เขาได้ชำระตัวเขาในการปกป้องศาสนาของเขาและเกียรติของเขา ส่วนที่ตกลงไปในการกระทำสิ่งที่คลุมเครือ เขาก็ได้ตกลงไปในเรื่องที่ต้องห้าม เช่นเดียวกับผู้ที่เลี้ยงปศุสัตว์รอบ ๆ ที่ดินที่ต้องห้าม (เช่น สวนของคนอื่น) ไม่ช้ามันก็จะเข้า (ไปกิน) ใน (สวน) นั้น จงจำไว้ว่า ผู้ปกครอง (กษัตริย์ ฯลฯ) ทุกคนมีขอบเขตที่ต้องห้าม จงจำไว้เถิดว่า ที่อัลลอฮฺทรงห้ามนั้น คือสิ่งที่พระองค์ไม่ทรงอนุมัติ จงจำไว้ว่า ในร่างกายนั้นมีเนื้อก้อนหนึ่ง เมื่อมันดี ร่างกายนั้นก็ดีด้วย แต่เมื่อมันเสีย ร่างกายก็จะเสียไปด้วย จงจำไว้ว่ามันคือ หัวใจ
رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ
หะดีษนี้บันทึกโดย บุคอรีย์และมุสลิม
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ >>> ส่วนผสมที่น่าสงสัยหรืออาจจะหะรอมในเบเกอรี่
ธัญพืชและขนมหวาน (4)
คำแนะนำจากเชคริฎอ (ที่ปรึกษาของฮิมายะฮฺ) : ...อาหารที่กาฟิร(ต่างศาสนิก)ปรุงนั้นไม่ถือว่าหะรอม(ต้องห้าม) สิ่งที่ต้องพิจารณาคือส่วนประกอบ(ว่าหะล้าลหรือไม่) และภาชนะ(ว่ามีการใช้ปะปนกับสิ่งหะรอมหรือไม่)...สำหรับขนมที่ไม่ได้รับรองฮาลาล แต่เรารู้ว่ามีส่วนประกอบที่ไม่หะรอม และภาชนะไม่มีการปะปน หรือเรารู้จักกับคนขาย หรือเขาทำต่อหน้าเรา และมั่นใจได้ในเรื่องส่วนผสมและภาชนะ ก็รับประทานได้ ส่วนเรื่องของความสงสัยก็แล้วแต่บุคคล เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของแต่ละคน ไม่ถือเป็นมาตรฐานในการหุก่มสิ่งหนึ่งสิ่งใดว่าหะล้าลหรือหะรอม...
รับฟังรายละเอียดได้ที่
ยูเอฟเอ็ม เอสพี ไม่ได้รับรองฮาลาล แนะนำให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทอื่นที่ได้รับฮาลาลแทน
สารเสริมประสิทธิภาพในเบเกอรี่ ที่ได้รับรองฮาลาลคือผลิตภัณฑ์ของบริษัท Caltech คือ ยี่ห้อ เอสพี โกลด์ (SP Gold), โอวิเทค (Ovitech) ฯลฯ อ่านรายละเอียดได้ที่ http://www.himayah.net/v2/node/120
เท่าที่ทราบไม่มีฮาลาล และจากเว็บไซต์มิสเตอร์โดนัท ก็เห็นมีพายไก่และแซนด์วิชไส้กรอกไก่ขายอยู่ด้วย อาจจะมีการปะปนกัน
ข้อมูลการตรวจสอบโดนัทของร้านมิสเตอร์โดนัทในต่างประเทศไม่ค่อยมีค่ะ แต่เราจะเทียบกับของร้านดังกิ้นโดนัทได้ เพราะเป็นโดนัทเหมือนกัน ส่วนผสมที่ใช้ไม่แตกต่างกันนัก
ทาง muslim consumer group (mcp) ตรวจสอบโดนัทในร้านดังกิ้นโดนัทของอเมริกาหลายๆตัวแล้ว พบว่าส่วนมากจะหะรอมและน่าสงสัย(มุชตะบิฮาต) โดยส่วนผสมที่หะรอม(ตามทัศนะของทาง mcg) คือ L-CYSTEINE ซึ่งสกัดได้จากผมคนและขนสัตว์ (สถานะของตัวนี้นักวิชามีความเห็นต่างกันมีทั้งที่เห็นว่าหะรอมและหะลาล), และส่วนผสมที่น่าสงสัยในโดนัทคือ สารให้กลิ่นรส เพราะอาจจะมีอัลกอฮอล์ผสมอยู่ด้วย
ทางที่ดีไม่ควรรับประทานค่ะ เพราะว่า...
จากอบูอับดุลลอฮฺ (อัน-นุอฺมาน บินบะชีร) กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
แท้จริงสิ่งที่อนุมัติ (หะล้าล) นั้นชัดแจ้ง สิ่งที่ต้องห้าม (หะรอม) ก็ชัดแจ้ง และในระหว่างทั้งสองสิ่งนั้น มีเรื่อง (หรือสิ่ง) ที่คลุมเครือ (ไม่ชัดแจ้ง) ซึ่งผู้คนส่วนมากไม่รู้ ดังนั้น ผู้ใดรักษาตัวเขาจากสิ่ง (หรือเรื่อง) ที่คลุมเครือนั้น เขาได้ชำระตัวเขาในการปกป้องศาสนาของเขาและเกียรติของเขา ส่วนที่ตกลงไปในการกระทำสิ่งที่คลุมเครือ เขาก็ได้ตกลงไปในเรื่องที่ต้องห้าม เช่นเดียวกับผู้ที่เลี้ยงปศุสัตว์รอบ ๆ ที่ดินที่ต้องห้าม (เช่น สวนของคนอื่น) ไม่ช้ามันก็จะเข้า (ไปกิน) ใน (สวน) นั้น จงจำไว้ว่า ผู้ปกครอง (กษัตริย์ ฯลฯ) ทุกคนมีขอบเขตที่ต้องห้าม จงจำไว้เถิดว่า ที่อัลลอฮฺทรงห้ามนั้น คือสิ่งที่พระองค์ไม่ทรงอนุมัติ จงจำไว้ว่า ในร่างกายนั้นมีเนื้อก้อนหนึ่ง เมื่อมันดี ร่างกายนั้นก็ดีด้วย แต่เมื่อมันเสีย ร่างกายก็จะเสียไปด้วย จงจำไว้ว่ามันคือ หัวใจ
رَوَاهُ الْبُخَارِيُّ وَمُسْلِمٌ
หะดีษนี้บันทึกโดย บุคอรีย์และมุสลิม
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ >>> ส่วนผสมที่น่าสงสัยหรืออาจจะหะรอมในเบเกอรี่
สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)
สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) ในปัจจุบันวงการอุตสาหกรรมเบเกอรี่ของบ้านเรา (และในหลายประเทศ) นิยมนำมาใช้กันอย่างมาก เพื่อทำหน้าที่เป็น Cake Stabiliser การใช้สารอีมัลซีไฟเออร์เหล่านี้ นิยมใช้ในการผสมแบบขั้นตอนเดียว คือ เติมส่วนผสมทั้งหมดลงในอ่างผสม แล้วตีส่วนผสมด้วยความเร็วต่ำ 30 วินาที ปาดข้างอ่างเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันได้ดี แล้วตีต่อด้วยความเร็วสูงอีกประมาณ 5 - 6 นาที (หรือแล้วแต่สูตรจะกำหนด)
เหตุผล ที่มีการใช้สารอิมัลซิไฟเออร์ในวงการเบเกอรี่กันมาก ก็เพราะมันช่วยให้การตีไขมันกับของเหลวต่าง ๆ ในส่วนผสม สามารถรวมตัวกันได้ดี ภายในระยะเวลาอันสั้น ทำให้ประหยัดเวลา ช่วยให้การทำเค้กง่ายขึ้น ได้เนื้อเค้กที่ละเอียดขึ้น และโอกาสที่ขนมจะเสียหรือยุบตัวจะมีน้อยมาก จึงสามารถที่จะควบคุมต้นทุนและคุณภาพของเค้กไว้ได้
ข้อมูลจาก http://soda-pie.blogspot.com/2010/02/emulsifier.html
พุธ, 22/12/2010 - 00:57 — Ibnuhaiyaan
อีมัลซิไฟเออร์
อีมัลซิไฟเออร์มีหลายชนิดค่ะ ถ้าดูจาก e-number ก็อยู่ในช่วง e400-e499 มีทั้งที่ได้จากพืช สัตว์ หรือสังเคราะห์ขึ้น หน้าที่ของมันก็อย่างที่คุณ Ibnuhaiyaan ยกมาข้างต้น
ส่วนผสมของแป้งทำขนมสำเร็จรูป (cake mix) นอกจากแป้ง น้ำตาล ผงฟู ไขมัน ฯลฯ แล้วก็ยังมีสารที่ช่วยในการผสมเค้กได้ดี, ปรับสภาพเนื้อเค้ก, สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน ซึ่งต้องตรวจสอบเป็นตัวๆ ไปค่ะว่าฮาลาลมั้ย
สำหรับแป้งทำขนมสำเร็จรูปที่ระบุว่ามีอีมัลซิไฟเออร์ การเลือกซื้อหรือรับประทานให้ดูจากการรับรองฮาลาลที่ฉลาก ถ้าไม่มีก็ต้องสอบถามกับผู้ผลิตว่าสารเสริมสภาพที่ใช้นั้นได้รับการรับรองฮา ลาลหรือเป็นผลิตภัณฑ์จากพืชทั้งหมดหรือไม่ ? วนิลลาที่ใช้มีอัลกอฮอล์มั้ย ?
ตัวอย่างแป้งโดนัทที่ได้รับรองฮาลาล
พี่น้องที่มีข้อมูลว่าผลิตภัณฑ์แป้งสำเร็จรูปตัวไหนได้รับการรับรองฮาลาล ก็แจ้งไว้ที่นี่ได้นะคะ
ญะซากุมุลลอฮุค็อยร็อน
ทีมงานฮิมายะฮฺ
พฤ, 23/12/2010 - 09:14 — himayah123
ผลิตภัณฑ์นม (2)
คำถาม : ทำไมนงผง เอส-26 จึงมีตราฮาลาลสิงคโปร์ ทำไมไม่ใช้ตราฮาลาลไทย ?
คำถาม : เต้าฮวยนมสดใส่เจลาตินด้วยหรือ ?
ที่มา : หนังสือ ถาม-ตอบเรื่องฮาลาลกับฮิมายะฮฺ เล่ม 1
ส่วนใหญ่ไม่มีฮาลาลครับ เช่น สเวนเซ่น แดรี่ควีน บาสกินร็อบบิ้นส์ ฯลฯ
...ที่มีฮาลาลก็คือ ครีโม แมกโนเลีย วอลล์ครับ
...ถ้ามียี่ห้ออื่นที่มีฮาลาลพี่น้องช่วยแจ้งมาด้วยครับ (มีภาพถ่ายมาด้วยจะดีมากครับ) - [อนีส]
อ่านรายละเอียดได้ที่ http://www.himayah.net/v2/node/22
อื่นๆ (3)
ซอสญี่ปุ่น, ซีอิ้วญี่ปุ่น, หรือ โชหยุ (Soy bean sauce) เป็นเครื่องปรุงสำคัญในการทำอาหารญี่ปุ่น ซึ่งได้จากการหมักถั่วเหลือง โดยในระหว่างการหมักนั้นจะเกิดอัลกอฮอล์ 1-5% ตัวอย่างเช่น ซอส Kikkoman ระบุไว้ว่ามี อัลกอฮอล์ 3.2%
แต่ซอสญี่ปุ่นในบ้านเราไม่ได้ระบุปริมาณอัลกอฮอล์ที่ฉลาก ดังนั้น เราควรเลือกซอสญี่ปุ่นที่ได้รับรองฮาลาลจะปลอดภัยที่สุด เพราะได้ผ่านการตรวจสอบปริมาณอัลกอฮอล์แล้วว่าไม่เกินมาตรฐานฮาลาล ซึ่งทางศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลกำหนดไว้ 1.5%
ซอสญี่ปุ่นที่ได้รับรองฮาลาลคือ
1. ซีอิ๊วญี่ปุ่น ตรา อาซาฮี (Asahi soy sauce)
ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย..56
2. ซีอิ๊วญี่ปุ่น ตราเด็กสมบูรณ์ สูตร All Purpose Seasoning (Japanese style Soy Sauce)
ขอบคุณภาพจาก halal.in.th
ข้อควรระวัง
1. "ซอส ทาคุมิ-อายิ" ไม่เหมาะกับผู้ที่รับประทานเจและชาวมุสลิม ส่วนผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ สามารถใช้ปรุงอาหารได้ตามปกติ
(ข้อมูลจากผลิตภัณฑ์ บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด หน้าเว็บ(ปี 2552) และจากการสอบถามล่าสุด 03/09/2553) เมื่อปี 2552 ผลิตภัณฑ์นี้ แจ้งส่วนประกอบว่ามีมิรินไว้ข้างขวด แต่ปัจจุบัน(2553) ส่วนประกอบข้างขวดได้ตัดคำว่า"มิริน"ออกไป
2. ยี่ห้อ ฟูจิ (Fuji) จากการสอบถามไปยังทางฟูจิ (03/09/53) ทางเจ้าหน้าที่แจ้งว่า ไม่เหมาะสำหรับมุสลิมและผู้ที่ทานเจ
3. ซอสญี่ปุ่นยี่ห้อ ยามาซ่า (Yamasa) บางชนิด มีการเติมอัลกอฮอล์ลงในซอสด้วย
*** กรุณาตรวจสอบเครื่องหมายรับรองฮาลาลก่อนซื้อทุกครั้ง ***
Attachment | Size |
---|---|
japan-soy-sauce-3.jpg | 29.31 KB |
asahi-sauce.jpg | 54.31 KB |
japan-soy-sauce-1.jpg | 20.7 KB |
น้ำโซดา เป็นน้ำเปล่าอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้ซ่า มีฤทธิ์เป็นกรด ไม่มีส่วนผสมที่หะรอม แต่โซดาที่ขายส่วนมากจะเป็นของบริษัทที่ผลิตสุรา การซื้อโซดายี่ห้อเดียวกับสุรา เป็นการสนับสนุนบริษัทเหล่านั้นทางอ้อม แนะนำให้หลีกเลี่ยง
เครื่องหมายฮาลาลที่ถูกต้องตามระบบการรับรอง เครื่องหมายฮาลาลที่ถูกต้องตามระบบการรับรองของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักดังรูป
1. คำว่า “ฮาลาล” حلال ภาษาอาหรับ ในสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมีพื้นหลังเป็นแถบเส้นตรงแนวดิ่ง
2. ชื่อองค์กรรับรอง - "สนง. คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย" หรือ "The Central Islamic Committee of Thailand" หรือ เป็นภาษาอาหรับ (เป็นได้ทั้ง 3 ภาษา) ถ้าเป็น “สำนัก จุฬาราชมนตรี” แสดงว่าเป็นเครื่องหมายฮาลาลที่ไม่ผ่านการตรวจรับรอง เนื่องจากทางสำนัก จุฬาราชมนตรีได้มอบหน้าที่การตรวจรับรองฮาลาลแก่คณะ กรรมการกลางอิสลามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 แล้ว
3. หมายเลขผลิตภัณฑ์ 12 หลัก ที่ได้จากการรับรองฮาลาล ถ้าเป็นตัวเลขในระบบเก่า (ซึ่งผ่านการ ตรวจรับรองเช่นเดียวกัน) จะใช้ลำดับที่ของบริษัท ตามด้วยปีที่เริ่มขอรับรอง "ที่ ฮ.ล. 025/2547" ในส่วนของเลข 12 หลักนั้น มีความหมายดังนี้ (ดูรูปประกอบ)
* เลข 2 ตัวแรก คือ หมวดผลิตภัณฑ์ ตามที่ปรากฏในฐานข้อมูลการรับรองฮาลาลของคณะกรรมการกลางฯ จากรูปตัวอย่าง เลข 74 หมายถึง ผลิตภัณฑ์เกลือ พริกไทย แป้งทำอาหาร น้ำตาล
* เลขตัวที่ 3-5 คือ ลำดับที่ของบริษัทในทะเบียนการขอรับรอง จากรูป เป็นบริษัทลำดับที่ 69
* เลขตัวที่ 6-8 คือ ลำดับที่ของผลิตภัณฑ์ในรายการที่ทางบริษัทยื่นขอรับรองฮาลาล จากรูป เป็นผลิตภัณฑ์แรกของบริษัทนี้
* เลข 4 ตัวสุดท้าย คือ เดือนและปีที่เริ่มขอรับรอง จากรูป 09 41 หมายถึงบริษัทนี้เริ่มขอรับรองผลิตภัณฑ์นี้ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ซึ่งการที่เราจะทราบว่าเครื่องหมายฮาลาลนี้หมดอายุหรือไม่มีนั้น มีเพียงวิธีการเดียวคือ สอบถามโดยตรงจากฝ่ายกิจการฮาลาล คณะกรรมการกลางฯ ส่วนเรื่องสีของเครื่องหมายฮาลาล ไม่ว่าจะเป็นสีอะไร ไม่มีผลใดๆ (สีเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารนั้นๆ) เช่น อาจเป็นสีขาว, เขียว หรือแดง แต่ถ้าเงื่อนไขครบสามข้อข้างต้น ถือว่าถูกต้อง ที่มา:http://www.halalscience.org
เนื้อและสัตว์ปีก (3)
คำถาม : ไส้กรอกตามก 7-eleven มีตราฮาลาล จะสามารถทานได้หรือเปล่า, ไก่ซีพี สหฟาร์ม เบทาโกร ฮาลาลหรือไม่
สำหรับการอุ่นอาหารจากเตาไมโครเวฟในร้านเซเว่นอีเลฟเว่นนั้นมีคำแนะนำจากเชคริฎอ อะหมัด สมะดี สรุปได้ว่า "ปัจจุบันมีอาหารมากมายที่มีตราฮาลาลและต้องอุ่นในไมโครเวฟที่เซเว่นอีเลฟเว่น เท่าที่ดูแล้วเตานี้จะใช้อุ่นอาหารทุกชนิดทั้งหมู ไส้กรอกหมู ฯลฯ ซึ่งขณะอุ่นก็อาจจะมีไอหรือควันที่ออกมาจากอาหารมาเกาะติดกับภายในไมโครเวฟ หรือบางทีเขาใช้ฝาครอบพลาสติกปิดอาหารขณะอุ่น ก็จะมีส่วนที่ออกมาจากอาหารติดกับฝาครอบนี้ ดังนั้น ความที่มีชุบฮัตแบบนี้ขอแนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้เตาไมโครเวฟ เพราะน่าสงสัยว่ามีการปะปนกับอาหารที่ไม่หะล้าลตามหลักการอิสลาม"
1. หนังสือ ถาม-ตอบ เรื่องฮาลาลกับฮิมายะฮฺ เล่ม 1
2. มุสลิมสามารถอุ่นอาหารจากเตาไมโครเวฟในร้านเซเว่นอีเลฟเว่นได้หรือไม่
การทำให้สัตว์สลบก่อนฆ่าหรือเชือดนั้นมีปัญหาอยู่ 2 ประการ ซึ่งถูกพิสูจน์โดยหลักวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น
ประการแรก การทำให้สลบนั้นไม่อาจทำให้เส้นประสาทรับความรู้สึกของสัตว์สลบไปด้วยทุกส่วน ซึ่งการเชือดตามหลักศาสนาอิสลามคือวิธีที่มีความเจ็บปวดน้อยที่สุดอยู่แล้ว เพราะการเชือดตามหลักการอิสลามจะต้องตัดเส้นเลือดหลักที่หล่อเลี้ยงสมอง ซึ่งทำให้เส้นประสาททุกส่วนที่จะส่งสัญญาณมายังสมองนั้นไม่สามารถทำงานได้ จึงทำให้ความรู้สึกเจ็บปวดของสัตว์อยู่ในอัตราที่ต่ำที่สุด
ประการที่สอง การฉีดยาสลบก่อนเชือดหรือฆ่าทำให้เส้นเลือดขณะเชือดและฆ่าอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถแสดงปฏิกิริยาหรือสนองต่อคำสั่งจากสมอง ซึ่งต่างจากสภาพเส้นเลือดของสัตว์เมื่อถูกเชือดตามหลักศาสนาอิสลาม เพราะการตัดเส้นเลือดหลักที่หล่อเลี้ยงสมองนั้น ทำให้สมองออกคำสั่งเร่งด่วนสู่เส้นเลือดทั่วตัวสัตว์ เส้นเลือดต่างๆก็จะสนองตอบคำสั่งดังกล่าวด้วยการขับเลือดไปยังศีรษะ อันเป็นผลต่อเนื้อของสัตว์ที่จะมีเลือดน้อยที่สุด แต่ถ้าไม่เชือดตามหลักการศาสนาก็จะเกิดปัญหาเลือดคั่งอยู่ในเส้นเลือดและอวัยวะต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุในการสะสมเชื้อโรคต่างๆในเนื้อสัตว์ ถ้ามีการเก็บเนื้อในระยะเวลานาน และส่งผลต่อการเพิ่มน้ำหนักของเนื้อ อันเป็นเป้าหมายทางการค้าของโรงเชือดที่ไม่ได้เชือดตามหลักการอิสลาม
ดังนั้นทางวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์แล้วว่าการเชือดตามหลักศาสนาอิสลามทรมานน้อยที่สุดและปลอดภัยมากที่สุด
หมายเหตุ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://e3jaz.way2allah.com/modules.php?name=News&file=article&sid=143
เชคริฎอ อะหมัด สมะดี
ฝ่ายวิชาการศาสนาฮิมายะฮฺ
15/8/2011
เนื่องจากมีพี่น้องผู้บริโภคได้แจ้งข่าวเกี่ยวกับการบริโภคฟาสต์ฟูดไก่ทอด ชื่อดัง โดยพี่น้องมุสลิม จำนวนมากในห้างซุปเปอร์สโตร์ย่านหนองจอก ทั้งนี้ผู้เข้าใช้บริการร้านไก่ทอดที่มักจะมีรูปปั้นตั้งอยู่หน้าร้านนี้มี จำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งๆ ที่ร้านไก่ทอดยี่ห้อนี้ไม่มีการรับรองหะล้าลจากคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทย
ทีมงานฝ่ายฮิมายะฮฺจึงได้ทำการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับไก่ทอดยี่ห้อนี้ จึงทราบว่าวัตถุดิบซึ่งเป็นไก่สดอาจได้รับการรับรองหะล้าล แต่ไม่มั่นใจว่าไก่ที่ใช่ปรุงอาหารนั้นหะล้าลในทุกสาขาทั่วประเทศหรือไม่ อีกทั้งในการปรุงไก่ก่อนทอดนั้นใช้ผงปรุงซึ่งเป็นส่วนผสมลับสิบกว่าชนิด จึงไม่ทราบได้ว่าส่วนผสมต่างๆ ที่ไม่ระบุนั้นหะล้าลหรือหะรอม แม้กระทั่งพนักงานในร้านเองก็ไม่ทราบได้ว่าผงปรุงนั้นทำมาจากอะไร เนื่องจากผงปรุงถูกบรรจุเป็นส่วนผสมสำเร็จรูปแล้ว รวมถึงอาหารชนิดอื่นๆ ในร้าน เช่น มันบด ที่ต้องใช้น้ำซุปเป็นส่วนผสม ก็ไม่ทราบสถานะทางหะล้าลเช่นเดียวกัน
ฝ่ายฮิมายะฮฺจึงขอให้พี่น้องหลีกเลี่ยงไก่ทอดชื่อดังยี่ห้อนี้ เนื่องจากอยู่ในสถานะที่ “ต้องสงสัย” และพี่น้องมุสลิมมีอาหารหะล้าลอื่นๆ ให้เลือกบริโภคอีกเป็นจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน
...อย่าให้การตามกระแสบริโภคนิยม ทำให้เราต้องละทิ้งจุดยืนที่อัลลอฮฺได้มอบให้แก่เรานะครับ (อนีส ตอเล็บ, มี.ค.53)
รับฟังคำตอบได้ที่ ไก่ชื่อดังยี่ห้อหนึ่ง ได้ยินมาว่าไก่นั้นฮาลาล เราจะรับประทานได้หรือไม่ (เคเอฟซี) ?
เมนูนำทาง
เนื้อหาล่าสุด
หนังสือรับรองฮาลาล ขนมปังและเค... - 17 ส.ค. 15 |
[วีดีโอ] รายการ "ฮาลาล โด... - 19 เม.ย. 15 |
ใบปลิวเรื่องผงปรุงรส - 15 ธ.ค. 14 |
เส้นทางของฮาลาลไทยในอาเซียน (2... - 13 ธ.ค. 13 |
องค์กรอิสลามเพื่อฮาลาลนานาชาติ... - 13 ธ.ค. 13 |
ซอสญี่ปุ่นฮาลาลมั้ย ? - 17 พ.ย. 13 |
เส้นทางของฮาลาลไทยในอาเซียน (1... - 14 พ.ย. 13 |